การสอบ 8 วิชาการพยาบาล ถือได้ว่าเป็นการสอบเพื่อประเมินความรู้ของนักศึกษาพยาบาลที่ได้เล่าเรียนมา และเป็นการก้าวเข้าสู่การเป็นพยาบาลอาชีพอย่างเต็มตัว ดังนั้น การเตรียมตัวจึงมีความสำคัญเป็นอย่างมาก โดยเนื้อหาแต่ละวิชาที่ใช้สอบนั้น จะมีขอบเขตเนื้อหาที่ถูกกำหนดไว้โดยสภาการพยาบาล หรือที่เรียกกันว่า “Blueprint” วันนี้เรานำเอา Blueprint ของทั้ง 8 วิชาการพยาบาล มาให้น้องๆ นักศึกษาได้รู้เนื้อหาขอบเขตกัน ได้แก่
- การผดุงครรภ์
- การพยาบาลมารดาและทารก
- การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
- การพยาบาลผู้ใหญ่
- การพยาบาลผู้สูงอายุ
- การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชศาสตร์
- การพยาบาลอนามัยชุมชนและการรักษาพยาบาลขั้นต้น
- กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์
ขอบเขตเนื้อหาวิชาการผดุงครรภ์การพยาบาลมารดาและทารก
1. บทนำที่เกี่ยวข้องกับการผดุงครรภ์และการพยาบาลมารดาและทารก | 1.1 แนวคิดทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับการผดุงครรภ์และการพยาบาลมารดา-ทารก 1.2 นโยบายระบบสุขภาพ/หลักประกันสุขภาพ/สิทธิประโยชน์ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับอนามัยแม่และเด็ก 1.3 สถิติที่เกี่ยวข้องกับมารดาและทารก 1.4 ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพมารดา-ทารกและประเด็นและแนวโน้มการผดุงครรภ์ และการพยาบาลมารดา-ทารก 1.5 บทบาทของผดุงครรภ์ตามกฎหมายและสมรรถนะของผดุงครรภ์ |
2. แนวคิดเกี่ยวกับการอนามัยเจริญพันธุ์และการวางแผนครอบครัว | 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการอนามัยเจริญพันธุ์ 2.2 การให้คำปรึกษาก่อนสมรส 2.3 การวางแผนครอบครัวและการให้คำแนะนำ 2.4 ภาวะการมีบุตรยาก 2.5 การปฏิสินธิและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ 2.6 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์ |
3. การพยาบาลหญิงในระยะตั้งครรภ์ | 3.1 การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของหญิงตั้งครรภ์ 3.2 การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์ 3.3 อาการและอาการแสดงของการตั้งครรภ์ (presumptive signs , probable signs , positive signs) 3.4 กระบวนการพยาบาลหญิงในระยะตั้งครรภ์ 3.4.1 การประเมินภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภแ์ ละทารกในครรภ์ (การซักประวัติการตรวจร่างกาย/การตรวจครรภ์การตรวจร่างกาย/การตรวจครรภ์ /การตรวจทางห้อปฏิบั ติการและการแปลผล) 3.4.2 การคัดกรองภาวะเสี่ยง 3.4.3 การวินิจฉัยการตั้งครรภ์และภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ (สรีระและจิตสังคม) 3.4.4 การวางแผนการพยาบาลหญิงในระยะตั้งครรภ์( heart burn , back pain , ตะคริว , ท้องผูก ) 3.5 การส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ (โภชนาการและการใช้ยา การมีเพศสัมพันธ์ การออกกำลังกาย การพักผ่อน การให้ภูมิคุ้มกัน การกระตุ้นพัฒนาการของทารกในครรภ์) 3.6 การเตรียมตัวเพือการคลอดและการเตรียมบทบาทการเป็นบิดา มารดา/การสร้าง สัมพันธภาพบิดามารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์ |
4. การประเมินสภาวะทารกใน ครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง | 4.1 การประเมินสภาวะทารกในครรภ์และการแปลผล - Biochemical Assessment - Biophysical Assessment - Electronic fetal monitoring 4.2 วางแผนการพยาบาลมารดาที่ได้รับการประเมินสภาวะทารกในครรภ์ |
5. การพยาบาลหญิงที่มีภาวะเสี่ยงและ ภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์ | 5.1 การพยาบาลหญิงที่มีภาวะเสี่ยงในระยะตั้งครรภ์ - Fetal anomalies - Dead fetus - Elderly gravida - Teenage pregnancy - Unwanted pregnancy - Drug addicted pregnancy - Abuse during pregnancy 5.2 การพยาบาลหญิงที่มีภาวะเสี่ยงในระยะตั้งครรภ์ - Hyperemesis gravidarum - PIH - Hydramnios/Oligohydramnios - Twins 5.3 การพยาบาลหญิงที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์ - โรคหัวใจ - โรคเบาหวาน - โรคเลือด (Thalassemia & Anemia) - โรคระบบทางเดินปัสสาวะ - ไทรอยด์ผิดปกติและโรคหืด/วัณโรคปอด 5.4 การพยาบาลสตรีที่มีเลือดออกในระยะตั้งครรภ์ - Abortion - Molar pregnancy - Ectopic pregnancy - Abruptio placenta - Placenta previa 5.5 การพยาบาลหญิงที่มีโรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - โรคตับอักเสบ - หัดเยอรมัน โรคสุกใส - ซิฟิลิส เริม Condyloma acuminate/ HPV - AIDS |
6. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการคลอด | 6.1 นิยามการคลอดและระยะของการคลอด 6.2 การเปลี่ยนแปลงทางสรีระและจิตสังคมของผู้คลอด (ระยะที่1 - 4 ของการคลอด) 6.3 ปัจจัยชักนำให้เกิดการคลอด 6.4 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอด 6.5 กลไกการคลอด |
7. การพยาบาลมารดาและทารกในครรภ์ | 7.1 การพยาบาลมารดาระยะที่1 ของการคลอด - การรับผู้คลอดใหม่ - การเฝ้าคลอด และการเตรียมสำหรับคลอด - การพยาบาลทางด้านสรีระ จิตสังคมของมารดาในระยะคลอด - การดูแลเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดของมารดาในระยะคลอด (ไม่ใช้ยา) - การส่งเสริมความสุขสบายในระยะคลอด 7.2 การพยาบาลผู้คลอดในระยะที่ 2-3 ของการคลอด - การวางแผนการพยาบาลในระยที่2-3 ของการคลอด - การทำคลอดทารกปกติ - การลอกตัวของรก การทำคลอดรก และการตรวจรก - การฉีดขาด/การตัดและการซ่อมแซมฝีเย็บ 7.3 การพยาบาลผู้คลอดในระยะที่4 ของการคลอด (ยกเว้น hematoma) |
8 การพยาบาลทารกแรกเกิดทันที | 8.1 การประเมินทารกแรกเกิดทันที (Apgar score) 8.2 การดูแลทารกแรกเกิดทันที 8.3 การส่งเสริมสัมพันธภาพ |
9. การพยาบาบผู้คลอดที่มีความผิดปกติและภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด | 9.1 การพยาบาลผุ้คลอดที่มีความผิดปกติที่เกี่ยวกับปัจจัยการคลอด - Power - Passage - Passenger - Psyche, Position / Physical condition 9.2 การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด (ระยะที่1 - 2 ของการคลอด) - PROM - Preterm/Post-term/IUGR - Prolonged labour/Obstructed labour - Uterine rupture - Amniotic fluid embolism - Vasa Previa - Prolapsed cord - Fetal distress 9.3 การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด (ระยะที่3 ของการคลอด) - รกติด รกค้าง มดลูกปลิ้น - ภาวะช็อกทางสูติศาสตร์ |
10. การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ | วิธีการช่วยเหลือ/การพยาบาลขณะและหลังทำ 10.1 Induction of Labour 10.2 F/E 10.3 V/E 10.4 C/S 10.5 Version 10.6 การล้วงรก 10.7 การท าคลอดในภาวะฉุกเฉิน 10.8 Breech assisting |
11. การพยาบาลมารดาและทารกหลังคลอด | 11.1 การเปลี่ยนแปลงทางสรีระและการปรับตัวด้านจิตสังคมของมารดาหลังคลอด และบทบาทการเป็นมารดาหลังคลอด (รวม postpartum blue) 11.2 การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 11.3 การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอด - การดูแลความสะอาดและการป้องกันการติดเชื้อ - การมีเพศสัมพันธุ์หลังคลอด - อาหาร - การพักผ่อน - การออกกำลังกาย - การขับถ่าย - อาการผิดปกติที่ควรมารพ.ก่อนวันนัด - การมาตรวจตามนัด - การให้คำาแนะนำมารดา เรื่องการเลี้ยงลูกและสังเกตอาการผิดปกติของลูก 11.4 การส่งเสริมสัมพันธภาพมารดาทารกหลังคลอด |
12. การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพและภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด | 12.1 การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ - Reactionary fever - After pain - เจ็บแผลฝีเย็บ - ริดสีดวงทวารอักเสบ - ท้องผูก - ปัสสาวะลำบาก 12.2 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด - PPH(Late, Sheehan's syndrome) - Hematoma - Infection - Subinvolution - Phlebitis - Breast abscess - P.P.Depression and psychosis |
13. การพยาบาลทารกแรกเกิด | 13.1 การประเมินสภาพทารกแรกเกิด - การตรวจร่างกายตามระบบ - การตรวจร่างกายทารกแรกเกิดเพื่อประเมินอายุครรภ์ (Ballard's scores) 13.2 การพยาบาลทารกแรกเกิดประจำวัน 13.3 การให้วัคซีน 13.4 การประเมินและการดูแลทารกแรกเกิดที่มีความผิดปกติเล็กน้อย - club foot, tongue-tie, meconeum impact, lactose intolerance, Down syndrome, neonatal teeth, ตัวเหลือง, subtemperature, น้ำตาไหล , sucking defect, undescended testes |
14. การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน | 14.1 Birth asphyxia และการกู้ชีพ 14.2 Meconium aspiration syndrome 14.3 Birth injuries |
15. การใช้ยาทางสูติกรรม | 15.1 การใช้ยาทางสูติกรรมในระยะตั้งครรภ์ระยะคลอด ระยะหลังคลอด |
ขอบเขตเนื้อหาวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
1. การส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการ | 1.1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการ 1.2 การส่งเสริมพัฒนาการตามวัย |
2. การส่งเสริมการโภชนาการในเด็ก | 2.1 ความต้องการสารอาหารในเด็กแต่ละวัย 2.2 การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก / อาหารเสริมในเด็กแต่ละวัย 2.3 ปัญหาโภชนาการในเด็กและการดูแล |
3. การเสริมภูมิคุ้มกันโรค | 3.1 แบบแผนการให้ภูมิคุ้มกันโรค 3.2 การให้คำแนะนำในการให้ภูมิคุ้มกันโรค |
4. การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล | 4.1 Family Centered Care 4.2 การพยาบาลในระยะเฉียบพลันและวิกฤติ - Separation anxiety - Pain management - Critical Care Concept - Stress and coping 4.3 การพยาบาลในระยะเรื้อรังและ ระยะสุดท้าย - Body image - Death & Dying |
5. การพยาบาลทารกแรกเกิด | 5.1 การพยาบาลทารกเกิดก่อนกําหนด : RDS, Sepsis, Hypothermia, Hypoglycemia, Hyperbilirubinemia, NEC, ROP, BPD 5.2 การพยาบาลทารกครบกําหนดที่มีปัญหา : MAS, Jaundice, Hypoglycemia 5.3 การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีความพิการแต่กําเนิด :Cleft lip & palate, TE fistula, Imperforated anus, Down Syndrome, Spina bifida |
6. การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ | 6.1 การพยาบาลเด็กโรคติดเชื้อที่ป้องกันด้วยวัคซีน :หัด หัดเยอรมัน สุกใส คางทูม วัณโรค 6.2 การพยาบาลเด็กโรคติดเชื้ออื่นๆ : ไข้เลือดออก เอดส์ โรคผิวหนัง |
7. การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร | 7.1 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหารที่รักษาทางยา : Diarrhea, Gastritis, Gastroenteritis 7.2 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหารที่รักษาด้วยการผ่าตัด : Hirschsprung’s disease, Intussusception |
8. การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ | 8.1 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ : Asthma, Croup, Bronchitis ,Pneumonia, Bronchiolitis 8.2 การดูแลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจด้วยกายภาพบําบัดทรวงอกและออกซิเจน 8.3 การให้คําแนะนําเกี่ยวกับการป้องกันและการดูแลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจที่บ้าน |
9. การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อ | 9.1 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ : AGN, NS, UTI, Pyelonephritis 9.2 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาต่อมไร้ท่อ : DM, DI, Hypothyroidism 9.3 การให้คําแนะนําเกี่ยวกับการป้องกันและการดูแลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะและต่อมไร้ท่อที่บาน |
10. การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยาและนีโอพลาสมา | 10.1 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางโลหิตวิทยา : Anemia, Thalassemia, Hemophilia 10.2 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางนีโอพลาสมา :Leukemia, Lymphoma, Wilm’s tumor, Neuroblastoma |
11. การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจ | 11.1 การพยาบาลเด็กโรคหัวใจพิการแต่กําเนิด : TOF, TGV, ASD, VSD, PDA 11.2 การพยาบาลเด็กโรคหัวใจที่เกิดขึ้นภายหลัง : Rheumatic Heart Disease Infective endocarditis 11.3 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะหัวใจวาย |
12. การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท กล้ามเนื้อและกระดูก | 12.1 การพยาบาลเด็กที่มีอาการชัก : Febrile Convulsion ,Epilepsy 12.2 การพยาบาลเด็กที่มีภาวะความดันในช่องกะโหลกศีรษะสูง : Hydrocephalus 12.3 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อในระบบประสาท : Meningitis ,Encephalitis 12.4 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว : Cerebral palsy |
13. การป้องกันและช่วยเหลือเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ | 13.1 อุบัติเหตุ 13.2 สารพิษ/สิ่งแปลกปลอม |
ขอบเขตเนื้อหาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ และการพยาบาลผู้สูงอายุ
1. การพยาบาลผู้ป่วยนรีเวช | 1.1 Tumor/ cyst: cervix, ovary, uterus/displacement 1.2 Infection: bacteria, fungus, parasites, sexual transmitted disease 1.3 Menstrual cycle disorders: dysmenorrhea, post menstrual bleeding amenorrhea, endometriosis , DUB , menopause |
2. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการผันแปรออกซิเจนในระยะเฉียบพลัน วิกฤต และเรื้อรัง | 2.1 Heart : Coronary artery disease, CHF, infection, valvular disease 2.2 Chest : Infection : bronchitis, pneumonia, abscess, empyema Non infection : asthma, COPD, tumor, embolism 2.3 Hematologic: anemia, leukemia, lymphoma, bleeding disorders, 2.4 Vessels : Artery : hypertension, arterial occlusion ,aneurysm, Vein : DVT, varicose vein, thrombophlebitis 2.5 Nose & Throat: nasal bleeding, nasal polyps, sinusitis , tonsillitis , CA nasopharynx, CA larynx |
3. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการเคลื่อนไหว และประสาทสัมผัสในระยะเฉียบพลัน วิกฤต และเรื้อรัง | 3.1 Pain 3.2 Neurological : - Infection : meningitis, encephalitis, brain abscess - Non infection : CVD, IICP, seizure, multiple sclerosis, Guillain-Barre syndrome, myasthenia gravis, tumor 3.3 Orthopedics : - Infection : osteoarthritis , osteomyelitis - Non infection : osteoporosis, fracture (joint replacement ,amputation , gouty arthritis , bone tumor , traction, ORIF) 3.4 Ear : hearing loss, tympanic membrane perforation, otitis media, mastoiditis , Meniere's disease (vertigo) 3.5 Eye : glaucoma, cataract, retinal detachment, eye injury, hyphemia ,diabetic retinopathy |
4. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาการย่อยการเผาผลาญ และการขับถ่ายในระยะเฉียบพลัน วิกฤต และเรื้อรัง | 4.1 GI: CA esophagus, gastric ulcer, gastroesophageal reflux, appendicitis, peritonitis, intestinal diverticulum, GI obstruction , 4.2 Procto : ulcerative colitis, CA colon , anal fistula , hemorrhoid 4.3 ตับ ถุงน้ำดี ตับอ่อน: cirrhosis, liver abscess, CA liver, cholecystitis ,cholelithiasis, pancreatitis, CA pancreas 4.4 Endocrine : - Pituitary & adrenal gland problems : tumor, DI , SIADH ,Cushing's syndrome, Addison's disease - Thyroid & parathyroid glands problems : hypo/hyperthyroidism, hypo/hyperparathyroidism - DM |
5. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาติดเชื้อ การเสียสมดุล น้ำเกลือแร่ ในระยะเฉียบพลัน วิกฤต และเรื้อรัง | 5.1 Fluid & Electrolytes and Acid-base imbalance: Fluid volume deficit/excess, hypo/hypernatremia, hypo/hyperkalemia, hypo/hypercalcemia, acidosis, alkalosis 5.2 Infection: malaria, hepatitis, leptospirosis, melioidosis, sepsis, multiple organ failure 5.3 Perioperative: pre-post operative care, anesthesia, operative complication : hypothermia 5.4 Communicable diseases & Tropical diseases: TB, typhoid, cholera, tetanus, emerging infectious diseases (e.g. avian flu, SARS) 5.5 Immune : hypersensitivity-anaphylaxis, allergy, contact dermatitis Immune deficiency : AIDS Autoimmune : SLE, rheumatoid arthritis 5.6 Skin: psoriasis, cellulitis, Steven-Johnson syndrome, herpes zoster/simplex, fungal infection 5.7 Burn |
6. การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาขับถ่ายปัสสาวะ ในระยะเฉียบพลัน วิกฤต และเรื้อรัง | 6.1 Uro : Infection : cystitis, UTI Non infection : lithalsas, CA bladder, neurogenic bladder 6.2 Nephro: Infection : pyelonephritis, acute glomerulonephritis, Non infection : ARF ,CRF |
7. การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งในระยะเฉียบพลัน วิกฤต และเรื้อรัง | 7.1 Death & dying & Palliative care 7.2 Chemotherapy 7.3 Radiation 7.4 CA Breast |
8. การพยาบาลฉุกเฉิน บาดเจ็บและสาธารณภัย | 8.1 Concept of trauma care: prehospital care, triage, primary assessment & resuscitation, secondary assessment & intervention, immobilizing & stabilization, post trauma care 8.2 Shock 8.3 Multiple organ injury : Chest : flail chest, pneumo/hemothorax, cardiac tamponade Abdomen : tear of spleen/ liver/ intestine Pelvic : ruptured bladder, fractured pelvic Head injury : cerebral contusion/concussion / hemorrhage Spinal cord injury 8.4 Disaster nursing: preparedness, rescue & response, rehabilitation |
9. มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ | 9.1 ความหมายและประเภทของผู้สงูอายุ 9.2 ผลกระทบจากการเปลี่ยนโครงสร้างประชากร/ บทบาทพยาบาล ผู้ดูแลครอบครัว สังคมต่อการดูแลผู้สงูอายุ/นโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องและแผนพัฒนาผู้สูงอายุแห่งชาติ 9.3 ระบบบริการสุขภาพและสังคม สำหรับผู้สูงอายุ |
10. เจตคติการดูแลผู้สูงอายุ | 10.1 จริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุ / เจตคติต่อการดูแลผู้สูงอายุ |
11. ทฤษฎีความสูงอายุ | 11.1 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงชีวภาพ (1) Cross linkage theory (2) Free radical theory (3) Wear and tear theory (4) Accumulative theory (5) Genetic program and error theory 11.2 ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม (1) Disengagement theory (2) Activity theory (3) Continuity theory |
12. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ | 12.1 ปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สงูอายุ - ปัจจัยภายใน(สุขภาพและพฤตกิรรมสุขภาพ ประสบการณ์ชีวิตความเชื่อและวัฒนธรรม) - ปัจจัยภายนอก (การศึกษา ฐานะและการเกษียณการทำงาน) 12.2 การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย 12.3 การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม |
13. การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ | 13.1 การประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (Activity of Daily Living : ADL) 13.2 การประเมินสมรรถภาพจิต/สมองของผู้สูงอายุ |
14. การพยาบาลเพื่อการสร้าง เสริมสุข ภาพผู้สูงอายุ | การพยาบาลเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ 14.1 Physical activity (Exercise) 14.2 Fall / Environment 14.3 Injury / Abuse 14.4 Nutrition 14.5 Sleep/ Sexual relation (เพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ) 14.6 Stress management/ Social participation / Recreation |
15. การพยาบาลผู้สงูอายุที่มีปัญหาสุขภาพ | การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ 15.1 ประสาท : Alzheimer / Parkinson 15.2 ระบบกระดูก / ข้อต่อ : Osteoarthritis, Osteoporosis 15.3 ระบบทางเดินอาหาร 15.4 ระบบไหลเวียนเลือด 15.5 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ : ต่อมลูกหมากโต/ ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ 15.6 ประสาทสัมผัส : การมองเห็น / การได้ยิน |
16 การพยาบาลเพื่อการฟื้นฟูสภาพ | 16.1 การพยาบาลเพื่อการฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ : DM, HT,HD/ Stroke, Pressure sore, COPD / Pneumonia |
17. การใช้ยาในผู้สูงอายุ | 17.1 เภสัชจลศาสตร์ในผู้สูงอายุและการท้าปฏิกิริยาต่อกันของยา 17.2 ผลข้างเคียงและข้อพึงปฏิบัติจากการใช้ยา |
ขอบเขตเนื้อหาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
1. หลักการพื้นฐาน ลักษณะและขอบเขตของงานการพยาบาล สุขภาพจิต และจิตเวช บทบาทของพยาบาลด้านสุขภาพจิตและจิตเวช | 1.1 หลักการพื้นฐานของการพยาบาลสุขภาพจิต และจิตเวช (คุณลักษณะของพยาบาล , เจตคติต่อการเจ็บป่วย, หลักการพยาบาล) 1.2 ลักษณะและขอบเขตงานทั้ง 4 มิติของการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช 1.3 บทบาทของพยาบาลด้านสุขภาพจิตและจิตเวช 1.4 เครื่องมือและการใช้เครื่องมือคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต 1.5 ระบบและการดูแลต่อเนื่องด้านสุขภาพจิตและจิตเวช |
2. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลสุขภาพจิต และจิตเวช | 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพจิตและความผิดปกติทางจิต (1)องค์ประกอบของผู้มีสุขภาพจิตดี/ ผู้มีความผิดปกติทางจิตและปัตจัยที่มีผลกระทบต่อภาวะสุขภาพจิต (2) ลักษณะสำคัญและเกณฑ์การจำแนกโรคทางจิตเวชที่พบได้บ่อย (3) หลักการสัมภาษณ์ประวัติทางจิตเวชวิธีการตรวจและประเมินสภาพจิตเบื้องต้น 2.2 ทฤษฎีทางการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช (1) ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ สัมพันธภาพระหว่าบุคคล และจิตสังคม (2) ทฤษฎีทางพฤติกรรมนยิม พฤติกรรมปัญญานิยม (3) ทฤษฎีทางชีวภาพทางการแพทย์ (4) ทฤษฏีมนุษยนิยม (5) ทฤษฎีการพยาบาล(เพ็พพลาว รอย โอเรม) |
3. เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช | 3.1 การตระหนักรู้ในตนเองและการใช้ตนเองเพื่อการบำบัด 3.2 เงื่อนไขที่สำคัญในการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดหลักการและขั้นตอนของการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด 3.3 เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด 3.4 ปัญหาและการแก้ไขปัญหาในแต่ละขั้นตอนของการสร้างสัมพันธภาพ |
4. การพยาบาลผู้ที่มีปัญสุขภาพจิตและจิตสังคม | 4.1 ผู้ที่มีความวิตกกังวล/เครียดอย่างเฉียบพลัน/เรื้อรัง (1 ) ลักษณะและอาการของผู้ที่มีภาวะวิตกกังวลหรือเครียด/เฉียบพลัน / เรื้อรัง (2) วิธีการบำบัดทางการพยาบาล 4.2 ผู้ที่มีภาวะสูญเสีย/ เศร้าโศก (1) ลักษณะและ/อาการสำคัญในแต่ละระยะของ loss & grief process (2) วิธีบำบัดทางการพยาบาล 4.3 ผู้มีภาวะซึมเศร้า (1) ลักษณะสำคัญและปัจจัยเหตุของภาวะซึมเศร้า (2) วิธีการบำบัดทางการพยาบาล 4.4 ผู้มีภาวะโกรธ (1) ลักษณะสำคัญและปัจจัยเหตุของผู้ที่มีภาวะโกรธ (2) วิธีบำบัดทางการพยาบาล |
5. การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางจิต | 5.1 การพยาบาลผู้ที่มีความวิตกกังวลและความเครียดผิดปกติ - ผู้ป่วยโรควิตกกังวล (Panic disorder , Phobia disorder . Obsessive Compulsive Disorders , Acute Stress Disorders , Post Traumatic Stress Disorders , Generalized Anxiety Disorders) - Adjustment Disorders - Somatoform Disorders (Somatization , Hypochondria , Conversion) 5.2 การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติด้านความคิดและการรับรู้ - ผู้ป่วยโรคจิตเภท (Delusion, Paranoid, Hallucination, Illusion, Withdrawal) - ผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม (Dementia) ภาวะสับสนเฉียบพลัน(Delirium) 5.3 การพยาบาลผู้ที่มีความปกติทางด้านอารมณ์ - ผู้ป่วยโรคจิตซึมเศร้า( Depressive Disorder) - ผู้ป่วยโรคอารมณ์สองขั้ว(Bipolar Disorder) 5.4 การพยาบาลผู้มีความผิดปกติด้านพฤติกรรม - Aggression / Hostility/ Violence - Suicidal / Self Destructive Behavior 5.5 การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติด้านบุคลิกภาพ - Dependence personality - Antisocial personality - Borderline personality 5.6 การพยาบาลผู้ติดสารเสพติด (Substance - related Disorders) - Alcohol - Tobacco / Prescription Drugs / Illicit Substances 5.7 การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางเพศ - Sexual function disorder - Gender identity disorder 5.8 การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางการกิน - Anorexia - Bulimia 5.9 การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชเด็ก - Mental Retardation - Autistic Disorders - Conduct Disorders - Attention Deficit Hyperactivity Disorders |
6. แนวคิดการบำบัดรักษาทางจิตเวช | 6.1 การจัดการในภาวะวิกฤตและฉุกเฉิน (1) แนวคิดของภาวะวิกฤตทางอารมณ์และ ปัจจัยที่ทำใหเ้กิดภาวะวิกฤต (2) วิธีการช่วยเหลือในภาวะวิกฤต และการพยาบาลในภาวะฉุกเฉิน 6.2 กระบวนการและเทคนคิการให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพจิต 6.3 การรักษาด้วยไฟฟ้า - แนวคิดการรักษาด้วยไฟฟ้า - อาการแทรกซ้อนของการรักษาด้วยไฟฟ้า - หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยไฟฟ้า 6.4 การบำบัดด้วยยาทางจิตเวช (1) ชนิดและคุณสมบัติของยาทางจิตเวช (2) การพยาบาลผู้ที่ได้รับยาทางจิตเวช 6.5 แนวคิดการบำบัดทางจิต (รายบุคคล กลุ่ม ครอบครัว) (1) บทบาทของพยาบาลในการบำบัดทางจิต 6.6 การบำบัดด้วยสิ่งแวดล้อม (1) แนวคิด หลักการและกิจกรรมในสิ่งแวดล้อมบำบัด (2) บทบาทของพยาบาลในการจัดสิ่งแวดล้อมบำบัด (3) หลักการและแนวทางในการจำกัดพฤติกรรม (setting limits) |
ขอบเขตเนื้อหาวิชาการพยาบาลอนามัยชุมชนและการรักษาพยาบาลขั้นต้น
1. การสาธารณสุขและ การพยาบาลอนามัยชุมชน และบทบาทหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน | 1.1 แนวคิด หลักการสาธารณสุขและการพยาบาลอนามัยชุมชน 1.2 ระบบสาธารณสุขของประเทศไทย 1.3 บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน 1.4 ลักษณะงานพยาบาลอนามัยชุมชน |
2. แผนพัฒนาสุขภาพ | 2.1 สภาพปัญหาสาธารณสุขของประเทศ 2.2 นโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ 2.3 แนวทางการแก้ปัญหาสาธารณสุข |
3. วิทยาการระบาด | 3.1 แนวคิดและหลักการทางวิทยาการระบาด 3.2 การเกิดและการกระจายโรคในชุมชน 3.3 ดัชนีอนามัย 3.4 การเฝ้าระวัง การสอบสวน และการป้องกันการควบคุมโรคติดต่อและไม่ติดต่อ |
4. นวัตกรรมและกลวิธีการสาธารณสุข | 4.1 ความหมาย แนวคิดของนวัตกรรมสาธารณสุข 4.2 แนวทางและกลวิธีดำเนินงานสาธารณสุข: สาธารณสุขมูลฐาน,จปฐ, ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, ชุมชนเข้มแข็ง, การมีส่วนร่วมของชุมชน |
5. กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน | 5.1 การประเมินชุมชน : การรวบรวม การวิเคราะห์การนำเสนอข้อมูลสุขภาพชุมชน 5.2 การวินจิฉัยชุมชนและการจัดลำดับความสำคัญ 5.3 การวางแผนงาน 5.4 การดำเนินงานตามแผน 5.5 การประเมินผล |
6. แนวทางการดำเนินงานอนามัยชุมชน | 6.1 การอนามัยครอบครัว (1) แนวคิดและหลักการบริการอนามัยครอบครัว (2) บทบาทหน้าที่ของพยาบาลในการอนามัยครอบครัว (3) การดูแลครอบครัวในสถานการณ์ต่างๆ 6.2 การอนามัยโรงเรียน (1)แนวคิดและหลักการให้บริการอนามัยโรงเรียน (2) บทบาทหนา้ที่ของพยาบาลในการบริการอนามัยโรงเรียน (3) การให้บริการในสถานการณ์ต่างๆ 6.3 การอาชีวอนามัย (1) แนวคิดและหลักการดำเนินงานอาชีวอนามัย (2) บทบาทหน้าที่ของพยาบาลในงานอาชีวอนามัย (3) การให้บริการอาชีวอนามัย 6.4 อนามัยสิ่งแวดล้อม (1)แนวคิดและหลักการอนามัยสิ่งแวดล้อม (2) บทบาทหน้าที่ของพยาบาลในงานอนามัยสิ่งแวดล้อม (3) การดูแลและจัดการด้านสุขาภิบาลอาหารน้ำดื่มมาใช้ขยะและสิ่งปฏิกูล การควบคุมแมลงและสัตว์นำโรค การแก้ไขเหตุรำคาญและมลพิษต่างๆ |
7. การบรรเทาสาธารณภัย | 7.1 หลักการบรรเทาสาธารณภัย 7.2 การวางแผนการดูแลผู้ประสบปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ณ ที่จุดเกิดเหตุและระหว่างการเคลื่อนย้ายไปโรงพยาบาล |
8. การรักษาพยาบาลขั้นต้น | 8.1 การประเมินภาวะสุขภาพ : (1) การซักประวัติและการตรวจร่างกาย (2) การส่งตรวจและแปลผลทางห้องปฏิบัติการ 8.2 การรักษาพยาบาลขั้นต้นด้านอายุรกรรม : ไข้ตัวร้อน ไข้และมีผื่นหรือจุด ไข้จับสั่น ไอ ปวดศีรษะ ปวดหลัง ปวดเอว ปวดท้อง ท้องผูก ท้องเดิน คลื่นไส้อาเจียน การอักเสบต่างๆ โลหิตจาง ดีซ่าน โรคขาดสารอาหาร อาหารเป็นพิษ โรคพยาธิลำไส้โรคบิด โรคหวัด โรคหัด โรคสุกใส โรคคาง ทมู โรคไอกรน โรคผิวหนัง และโรคติดต่อตามข้อกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข 8.3 การรักษาพยาบาลขั้นต้นด้านศัลยกรรม : การผ่าฝีเย็บบาดแผลที่ไม่สาหัส ชะล้าง ทำแผล ตกแต่งบาดแผล ผ่าเอาสิ่งแปลกปลอมซึ่งอยู่ในตำแหน่ง ที่ไม่เป็นอันตรายต่ออวัยวะสำคัญ 8.4 การรักษาพยาบาลขั้นต้นด้านปัจจุบัน พยาบาลและภาวะฉุกเฉิน (1) ผู้ได้รับสารพิษ สัตว์กัดต่อย การแพ้ยา การแพ้เซรุ่ม และวัคซีน (2) ผู้ที่มีภาวะเสียโลหิต ช็อก เป็นลมหมดสติหยุดหายใจ (3) ผู้ที่มีภาวะกระดูกหัก ข้อเคล็ด ข้อเคลื่อน (4) ผู้ที่จมน้ำ ไฟไหม้น้ำร้อนลวก ไฟฟ้าดูด สิ่งแปลกปลอมเข้าตา หูคอจมูก (5) ผู้ที่ท้องเดินอย่างรุนแรง หรือต้องสวนปัสสาวะหรือล้างท้อง |
ขอบเขตเนื้อหาวิชากฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ
1. ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป | 1.1 องค์ประกอบของกฎหมายลำดับศักดิ์ของกฎหมายลายลักษณ์อักษร การบังคับใช้และการยกเลิกกฎหมาย |
2. กฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ | 2.1 องค์ประกอบของความรับผิดตามกฎหมายใน การประกอบวิชาชีพการพยาบาล 2.2 การกระทำผิด (1) ประมาท (2) ทอดทิ้งผู้ป่วย (3) เปิดเผยความลับของผู้ป่วย (4) ปฏิเสธการช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในภยันตรายแห่งชีวิต (5) เอกสาร : ทำคำรับรองเท็จ / ปลอมเอกสาร (6) การทำแท้ง |
3. กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องกับ การประกอบวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ | 3.1 หลักเกณฑ์การให้ความยินยอมเพื่อการรักษา 3.2 องค์ประกอบของความผิดฐานละเมิด และการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน |
4. พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540 - ข้อบังคับสภาการพยาบาลที่เกี่ยวข้อง | 4.1 ความหมายหรือขอบเขตของการพยาบาล การผดุงครรภ์และการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 4.2 สมาชิกสภาการพยาบาล - ประเภท : สามัญและกิตติมศักดิ์ - คุณสมบัติ - สิทธิและหน้าที่ - เหตุและผลของการพ้นจากสมาชิกภาพและสมาชิกสามัญ 4.3 คุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 4.4 กรรมการสภาการพยาบาลและกรรมการที่ปรึกษา - คุณสมบัติ - เหตุของการพ้นจากต าแหน่งก่อนครบวาระ - การเลือกบุคคลเข้ารับต าแหน่งกรรมการที่ว่างลงก่อนครบวาระ - การดำเนินกิจการของสภาการพยาบาล * การประชุมและการลงมติ * การให้ความเห็นชอบและการคัดค้านมติของสภานายกพิเศษ 4.5 สิทธิและหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ 4.6 การกระทำการพยาบาลและการผดุงครรภ์ โดยผู้ที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพและข้อยกเว้น 4.7 จริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ตามข้อบังคับสภาการพยาบาล 4.8 กระบวนการสืบสวนและสอบสวนพยาบาลที่ประพฤติผิดจริยธรรมแห่งวิชาชีพฯ 4.9 โทษ (1) ทางอาญาที่ระบุไว้ใน พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (2) ทางวิชาชีพส าหรับพยาบาลที่ประพฤติผิดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ |
5. กฎหมายสาธารณสุขอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ | 5.1 ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยบุคคลซึ่งกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยาฯ มอบหมายให้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมฯ พ.ศ. 2539 5.2 พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 5.3 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 5.4 พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 5.5 พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. 2550 |
6. ทฤษฏีจริยศาสตร์ | 6.1 เกณฑ์ตัดสินจริยธรรมตามทฤษฎีหน้าที่นิยม 6.2 เกณฑ์ตัดสินจริยธรรมตามทฤษฎีประโยชน์นิยม |
7. การพัฒนาจริยธรรมในวิชาชีพ | 7.1 ทฤษฏีพัฒนาจริยธรรมของโคลเบอร์ก 7.2 ค่านิยมและการกระทำความกระจ่างในค่านิยม |
8. หลักจริยธรรมในวิชาชีพ | 8.1 เอกสิทธิ์หรือความมีอิสระ (Autonomy) การทำสิ่งที่เป็นประโยชน์ (Beneficence) 8.2 การไม่ท าสิ่งที่เป็นอันตราย (Non maleficence) 8.3 ความยุติธรรม (Justice) 8.4 ความซื่อสัตย์(Fidelity) 8.5 การรักษาความลับ (Confidentiality) การบอกความจริง (Veracity) |
9.จรรยาบรรณพยาบาล | 9.1 จรรยาบรรณพยาบาลของสมาคมพยาบาลฯ พ.ศ.2546 |
10. สิทธิผู้ป่วย | 10.1 คำประกาศสิทธิผู้ป่วย |
11. สิทธิพยาบาล | 11.1 สิทธิพยาบาล |
12. พฤติกรรมเชิงจริยธรรม | 12.1 ปัญหาจริยธรรมในวิชาชีพการพยาบาลที่เกี่ยวข้อง (1) การบอกความจริง (2) ชีวิตและการตายอย่างมีศักดิ์ศรี (3) ปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารกับผู้รับบริการและผู้ร่วมงาน (4) การยินยอมรับการรักษาโดยได้รับข้อมูล (5) การใช้เทคโนโลยีและให้บริการเกินความจ าเป็น (6) ด้านความรู้และทักษะการพยาบาล |